พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
พระสมเด็จวัดระฆ...
พระสมเด็จวัดระฆัง พิมพ์ยอดขุนพลห้าเหลี่ยม ฐานสิงห์ 3 ชั้น “พิเสส ถวาย ร.๔ ร.ศ.๘๔” ปี 2408 No.1
-พระสมเด็จวัดระฆัง พิมพ์ยอดขุนพล ฐานสิงห์ 3 ชั้น “พิเสส ถวาย ร.๔ ร.ศ.๘๔” (ร.ศ.๘๔ = พ.ศ.๒๔๐๘)
-มีเส้นเกศาที่องค์พระ และจากที่ได้ค้นคว้าหาข้อมูลจากหอสมุดแห่งชาติพบว่า เจ้าประคุณสมเด็จโตได้นำเกศาของท่านผสมในการสร้างพระสมเด็จด้วย
-เป็นพิมพ์ที่ได้ลงหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ เมื่อปี 2516 พร้อมจัดทำเป็นหนังสือไว้ของ คุณวิมล ยิ้มละมัย (ชื่อหนังสือ สมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี)/ ตามภาพที่แนบ
-พระพิมพ์นี้ได้ผ่านการตรวจสอบทางวิทยาศาสตร์จากศูนย์พระเครื่องสมเด็จโตอมะตะสยาม มีนบุรี พร้อมใบเกียรติบัตร (ตามภาพที่แนบ)
-พระพิมพ์นี้ได้ผ่านการตรวจสอบกับชมรมพระเบญจภาคีฯ พร้อมใบเกียรติบัตร
-มีตัวอย่างองค์พระที่อาจารย์กล้า เกษสุรินทร์ชัย (เซียนพระสมเด็จฯ) ได้กรุณาเซ็นต์ชื่อไว้ว่า สมเด็จโตเป็นผู้จัดสร้างไว้ในวาระสร้างเจดีย์นอน (ตามภาพที่แนบ)
-พระพิมพ์นี้หนังสือ “เปิดกรุพระเครื่อง” ได้ลงไว้ (ตามภาพที่แนบ)
-และที่สำคัญผมได้นำพระพิมพ์นี้ไปตรวจสอบกับเครื่อง “ฟลูออเรสเซ็นต์สแกน” ซึ่งมีเทคโนโลยีที่สูงมาก(มูลค่าเครื่องสแกน 6 ล้านบาท) เพื่อตรวจหาแร่ธาตุ-มวลสารทั่วไป โดยยึดหลักที่ว่าจะต้องมี ”ธาตุ 5 ตัว” หลักเท่านั้น ทางศูนย์พระถึงจะออกใบตรวจรับให้ คือ
1. Calcium คือ ปูนเปลือกหอย
2. Silicon “ ดิน 7 โป่ง 7 ป่า
3. Scandium “ ดิน 7 โป่ง 7 ป่า
4. Ilon “ แร่เหล็ก
5. Strontium “ เหล็กไหลไพรดำ
-เป็นพิมพ์พระที่มีพุทธศิลป์ที่สวยงามและแฝงด้วยความหมาย คือ ถ้าท่านลากเส้นจากสามเหลี่ยมที่ครอบพระประธานไว้ทั้ง 2 ด้าน ลงมาที่ฐานชั้นสุดท้ายของฐานสิงห์ จะมองเห็นเป็นรูปเจดีย์อย่างลงตัวและสวยงามมาก (ตามภาพที่แนบ)

ข้อมูลพระสมเด็จวัดระฆัง พิมพ์ยอดขุนพล
-พระสมเด็จวัดระฆัง พิมพ์พิเศษนี้ เป็นเอกอุกว่าพิมพ์ใดๆ บ้างก็เรียกว่า “พิมพ์มหาอำนาจอุดมยศ” บ้างก็เรียกว่า “พิมพ์จอมพล”, “พิมพ์จอมทัพ”, “พิมพ์ฐานสิงห์ 3 ชั้น” หรือ “พิมพ์ยอดขุนพล” ซึ่งมีพุทธานุภาพสูงสุดเมื่อเทียบกับพิมพ์ใดๆก็ตาม
-ลักษณะพระสมเด็จพิมพ์พิเศษนี้จะมีความคมชัดลึก แต่ขนาดจะเขื่องกว่าพระสมเด็จวัดระฆังทั่วไปเพียงเล็กน้อย เส้นซุ้มมีลักษณะคล้ายกับ “พระสมเด็จพิมพ์ใหญ่” แต่พอมาถึงองค์พระจะมีครอบแก้วด้วยสามเหลี่ยมที่องค์พระประธาน และฐาน 3 ชั้นเป็นฐานสิงห์ หรือ ขาสิงห์
-เนื้อหามวลสารจัดอยู่ ”ในยุคของวังหน้า” และ “มีหลายพิมพ์” และพบมากไปกว่านั้นคือพิมพ์ “พิเสส” ปะปนอยู่อีกด้วย
-เนื้อหาในองค์พระ มีเนื้อสีขาวลงชาดแดงบ้าง เนื้อขาวลงรักดำบ้าง เนื้อขาวลงรักออกเขียวบ้าง
-เนื้อพระสีแดงบ้าง เนื้อเขียวก้านมะลิลงรักดำบ้างบางตำแหน่ง และทาทับด้วยทองบางตำแหน่ง
-ตามบันทึกไว้ในแผ่นจารึก สมเด็จพระพุฒาจารย์ โต ทรงสร้างพระพิมพ์ยอดขุนพลไว้ด้วยผงมหาวิเสส 5 ผง 99 พระอาจารย์, 9 ดินโป่ง, 9 ดินป่าช้า, 9 ดินท่าน้ำ, 9 ดินกำฤาษี, 9 ดินกลางใจเมือง, 9 ไคลเสมา, 9 พระอุโบสถ, 9 ไคลพระเจดีย์, 9 พระธาตุ, 9 เหล็กไหล, และว่านยา 99 ประจุไว้ในพระวิหาร วัดระฆัง ปลุกเสก 99 หน พระพิมพ์นี้มีพุทธานุภาพสูงมาก และท่านใดมีไว้ครอบครองนับว่ามีบุญวาสนาที่สูงส่งและยิ่งใหญ่
-ตามตำนานพระสมเด็จพิมพ์ยอดขุนพล จอมพลถนอม กิตติขจร เคยแขวนขึ้นคอบูชาและได้ทำปฎิทิน 3 ทหารไว้ในปี 2515
************************
ประวัติ และ ตำนาน
สมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี
และการสร้างพระสมเด็จ วัดระฆังโฆษิตาราม ฯลฯ
*อาจารย์ของท่าน สมเด็จพระสังฆราชสุก ไก่เถื่อน วัดมหาธาตุ, สมเด็จพระโฆษาจารย์นาค วัดระฆัง, เจ้าคุณ อรัญญิก แก้ว, พระอาจารย์แสง วัดมณีชลขันธ์
*ชาตะ ในสมัยรักาลที่ 1 ณ.วันที่ 17 เมษายน 2331
*มรณะ วันที่ 22 มิถุนายน 2415
*พุทธคุณ เมตตามหานิยมสูง แคล้วคลาด คงกระพันและอธิษฐานดังใจปรารถนา
*บิดา ไม่ปรากฎแน่ชัด (บางตำราก็บอกว่าเป็น ร.1 หรือ ร.2)
*มารดา ชื่อ ละมุด (บางตำราบอกว่าชื่อ เกศ)
*ขณะที่ยังเยาว์วัยท่านได้ศึกษาอักขรที่สำนักเจ้าคุณอรัญญิก(ด้วง) วัดอินทรวิหาร
*ครั้งอายุ 12 ปี ในปี 2342 ได้บวชเป็นสามเณร โดยเจ้าคุณวิริยะเถระ(อยู่) วัดสังเวชวิศยาราม เป็นพระอุปัชฌาย์
*ท่านโตเป็นที่โปรดปรานของ ร.1-ร.5 และมีชื่อเสียงในการเทศน์ที่ไพเราะตั้งแต่ยังเป็นสามเณร
*ปี 2350 ร.1 ทรงโปรดปรานและพระกรุณาให้บวชเป็น “นาคหลวง” ที่วัดพระศรีศาสดาราม (วัดพระแก้ว) โดยมีสมเด็จพระสังฆราช สุก ญานสังวร วัดมหาธาตุเป็นพระอุปัชฌาย์ และได้เรียกกันว่า “พระมหาโต” ตั้งแต่นั้นมาและมีชื่อเสียงโด่งดังไปทั่วในเรื่องของการเทศน์ที่ไพเราะนัก และสอนให้ศิษย์เป็นเปรียญมามากต่อมาก
*ในสมัย ร.3 ท่านทรงกรุณาสถาปนาสมณศักดิ์ให้เป็น พระราชาคณะ แต่ท่านโตก็ปฎิเสธ เนื่องด้วยเพราะไม่ยึดถือกับยศศักดิ์ และมีนิสัยแปลกๆโดยที่ท่านจะทำอะไรตามความพอใจ และไม่ยึดถือกับความพอใจของคนทั่วไป
*ครั้งถึงสมัย ร.4 ได้ทรงแต่งตั้งเป็น พระราชาคณะ และครั้งนี้ท่านโตไม่ขัดราชอัธยาศัย
*ร.4 ทราบว่าท่านโตมีคุณธรรมสูง จึงได้แต่งตั้งสมณศักดิ์ดังนี้
ปี 2378 สมณศักดิ์ “พระครูปริยัติธรรม”
ปี 2386 สมณสักดิ์ “พระราชปัญญาภรณ์”
ปี 2390 สมณศักดิ์ “พระเทพกวีศรีวิสุทธินายก”
ปี 2395 สมนศักดิ์เป็น “พระธรรมกิตติ”
ปี 2407 ได้สมณศักดิ์เป็น “สมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรมรังสี” และราชทินนามว่า สมเด็จพระพุฒาจารย์ อเนกสถานปรีชา วิสุทธศีลจรรยาสมบัติ นิพัทธุตคุณ สิริสุนทรพรตจาริก อรัญญิกคณิศร สมณนิกรมหาปรินายก ตรีปิฎกโกศล วิมลศีลขันธ์ สถิต ณ วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร พระอารามหลวงฯ
เหตุการณ์ที่น่าประทับใจของสมเด็จโต ในสมัยรัชกาลที่ 4 ของช่วงปี 2394-2411 คือ
1.ได้รับกิจนิมนต์ไปทางเรือ แล้วเห็นศิษย์แจวเรือเหนื่อย ท่านก็จะให้พักแล้วแจวเอง ซึ่งก็เคยประทะชนกับเรือของ ร.4 แต่ท่านก็ไม่ตำหนิสมเด็จโต เพราะทราบถึงอุปนิสัยใจคอมาแต่เดิม
2.รัชกาลที่ 4 มักเรียกสมเด็จโตว่า “ขรัวโต” เพราะอายุมากกว่าท่านถึง 16 ปี ทรงโปรดปรานและถูกอัธยาศัยเป็นอันมาก ด้วยการนิมนต์สมเด็จโตเข้าไปถวายพระธรรมเทศนาในวังเสมอ
3.มีโจรขโมยของที่กุฎิ และเอื่อมมือหยิบไม่ถึงสิ่งของ แต่ท่านก็ทรงเขี่ยให้ถึงมือโจร
4.ได้สร้างพระพุทธรูปองค์ใหญ่และวัดไว้หลายวัดด้วยกัน เช่น วัดอินทรวิหาร วัดช่องลม วัดเกศไชโย วัดสะตือ วัดลครทำ วัดบางขุนพรหม วัดพิธเพียร เป็นต้น

ข้อมูลอ้างอิง ที่สามารถค้นคว้าได้ คือ
1.บทสัมภาษณ์ อาจารย์ แฉล้ม โชคช่วง
2.บทสนทนากับ เจ้าพระครูบริหารคุณวัตร (อดีตเจ้าอาวาสวัดใหม่อมตรส)
3.หนังสือประวัติหลวงปู่ภู เจ้าอาวาส วัดอินทรวิหาร
4.การบันทึกประวัติจากหลวงปู่คำ เจ้าอาวาสวัดอัมรินทร์ธนบุรี
5.หนังสือประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์ โต ที่น่าเชื่อถือและเรียบเรียงโดย
-พระครูกัลป์ยาณานุกูล
-สอน โลหะนันท์
-ฉันทิชัย
-อาจารย์ พน นิลผึ้ง
-ท่วม บุญนาค
-พ.ต.ต.จำลอง มัลลิกะนาวิน
-ตรียัมปวาย ฯลฯ
ผู้เข้าชม
4349 ครั้ง
ราคา
45000
สถานะ
ยังอยู่
ชื่อร้าน
พีพีพระเครื่อง
ร้านค้า
โทรศัพท์
ไอดีไลน์
tanetbty
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกสิกรไทย / 057-1-47965-6

ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
Le29Amuletนานาเจริญสุขเจนพระเครืองgofubonเปียโน
พีพีพระเครื่องภูมิ IRswatKittipanluiopiopหริด์ เก้าแสน
ชาวานิชชา วานิชเทพจิระเนินพระ99แหลมร่มโพธิ์Leksoi8
natthanethoppermanจ่าดี พระกรุaonsamuiบ้านพระสมเด็จอ้วนโนนสูง
บ้านพระหลักร้อยtrairataofkolokโกหมูพุทธศาสตร์99jocho

ผู้เข้าชมขณะนี้ 721 คน

เพิ่มข้อมูล

พระสมเด็จวัดระฆัง พิมพ์ยอดขุนพลห้าเหลี่ยม ฐานสิงห์ 3 ชั้น “พิเสส ถวาย ร.๔ ร.ศ.๘๔” ปี 2408 No.1




  ส่งข้อความ



ชื่อพระเครื่อง
พระสมเด็จวัดระฆัง พิมพ์ยอดขุนพลห้าเหลี่ยม ฐานสิงห์ 3 ชั้น “พิเสส ถวาย ร.๔ ร.ศ.๘๔” ปี 2408 No.1
รายละเอียด
-พระสมเด็จวัดระฆัง พิมพ์ยอดขุนพล ฐานสิงห์ 3 ชั้น “พิเสส ถวาย ร.๔ ร.ศ.๘๔” (ร.ศ.๘๔ = พ.ศ.๒๔๐๘)
-มีเส้นเกศาที่องค์พระ และจากที่ได้ค้นคว้าหาข้อมูลจากหอสมุดแห่งชาติพบว่า เจ้าประคุณสมเด็จโตได้นำเกศาของท่านผสมในการสร้างพระสมเด็จด้วย
-เป็นพิมพ์ที่ได้ลงหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ เมื่อปี 2516 พร้อมจัดทำเป็นหนังสือไว้ของ คุณวิมล ยิ้มละมัย (ชื่อหนังสือ สมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี)/ ตามภาพที่แนบ
-พระพิมพ์นี้ได้ผ่านการตรวจสอบทางวิทยาศาสตร์จากศูนย์พระเครื่องสมเด็จโตอมะตะสยาม มีนบุรี พร้อมใบเกียรติบัตร (ตามภาพที่แนบ)
-พระพิมพ์นี้ได้ผ่านการตรวจสอบกับชมรมพระเบญจภาคีฯ พร้อมใบเกียรติบัตร
-มีตัวอย่างองค์พระที่อาจารย์กล้า เกษสุรินทร์ชัย (เซียนพระสมเด็จฯ) ได้กรุณาเซ็นต์ชื่อไว้ว่า สมเด็จโตเป็นผู้จัดสร้างไว้ในวาระสร้างเจดีย์นอน (ตามภาพที่แนบ)
-พระพิมพ์นี้หนังสือ “เปิดกรุพระเครื่อง” ได้ลงไว้ (ตามภาพที่แนบ)
-และที่สำคัญผมได้นำพระพิมพ์นี้ไปตรวจสอบกับเครื่อง “ฟลูออเรสเซ็นต์สแกน” ซึ่งมีเทคโนโลยีที่สูงมาก(มูลค่าเครื่องสแกน 6 ล้านบาท) เพื่อตรวจหาแร่ธาตุ-มวลสารทั่วไป โดยยึดหลักที่ว่าจะต้องมี ”ธาตุ 5 ตัว” หลักเท่านั้น ทางศูนย์พระถึงจะออกใบตรวจรับให้ คือ
1. Calcium คือ ปูนเปลือกหอย
2. Silicon “ ดิน 7 โป่ง 7 ป่า
3. Scandium “ ดิน 7 โป่ง 7 ป่า
4. Ilon “ แร่เหล็ก
5. Strontium “ เหล็กไหลไพรดำ
-เป็นพิมพ์พระที่มีพุทธศิลป์ที่สวยงามและแฝงด้วยความหมาย คือ ถ้าท่านลากเส้นจากสามเหลี่ยมที่ครอบพระประธานไว้ทั้ง 2 ด้าน ลงมาที่ฐานชั้นสุดท้ายของฐานสิงห์ จะมองเห็นเป็นรูปเจดีย์อย่างลงตัวและสวยงามมาก (ตามภาพที่แนบ)

ข้อมูลพระสมเด็จวัดระฆัง พิมพ์ยอดขุนพล
-พระสมเด็จวัดระฆัง พิมพ์พิเศษนี้ เป็นเอกอุกว่าพิมพ์ใดๆ บ้างก็เรียกว่า “พิมพ์มหาอำนาจอุดมยศ” บ้างก็เรียกว่า “พิมพ์จอมพล”, “พิมพ์จอมทัพ”, “พิมพ์ฐานสิงห์ 3 ชั้น” หรือ “พิมพ์ยอดขุนพล” ซึ่งมีพุทธานุภาพสูงสุดเมื่อเทียบกับพิมพ์ใดๆก็ตาม
-ลักษณะพระสมเด็จพิมพ์พิเศษนี้จะมีความคมชัดลึก แต่ขนาดจะเขื่องกว่าพระสมเด็จวัดระฆังทั่วไปเพียงเล็กน้อย เส้นซุ้มมีลักษณะคล้ายกับ “พระสมเด็จพิมพ์ใหญ่” แต่พอมาถึงองค์พระจะมีครอบแก้วด้วยสามเหลี่ยมที่องค์พระประธาน และฐาน 3 ชั้นเป็นฐานสิงห์ หรือ ขาสิงห์
-เนื้อหามวลสารจัดอยู่ ”ในยุคของวังหน้า” และ “มีหลายพิมพ์” และพบมากไปกว่านั้นคือพิมพ์ “พิเสส” ปะปนอยู่อีกด้วย
-เนื้อหาในองค์พระ มีเนื้อสีขาวลงชาดแดงบ้าง เนื้อขาวลงรักดำบ้าง เนื้อขาวลงรักออกเขียวบ้าง
-เนื้อพระสีแดงบ้าง เนื้อเขียวก้านมะลิลงรักดำบ้างบางตำแหน่ง และทาทับด้วยทองบางตำแหน่ง
-ตามบันทึกไว้ในแผ่นจารึก สมเด็จพระพุฒาจารย์ โต ทรงสร้างพระพิมพ์ยอดขุนพลไว้ด้วยผงมหาวิเสส 5 ผง 99 พระอาจารย์, 9 ดินโป่ง, 9 ดินป่าช้า, 9 ดินท่าน้ำ, 9 ดินกำฤาษี, 9 ดินกลางใจเมือง, 9 ไคลเสมา, 9 พระอุโบสถ, 9 ไคลพระเจดีย์, 9 พระธาตุ, 9 เหล็กไหล, และว่านยา 99 ประจุไว้ในพระวิหาร วัดระฆัง ปลุกเสก 99 หน พระพิมพ์นี้มีพุทธานุภาพสูงมาก และท่านใดมีไว้ครอบครองนับว่ามีบุญวาสนาที่สูงส่งและยิ่งใหญ่
-ตามตำนานพระสมเด็จพิมพ์ยอดขุนพล จอมพลถนอม กิตติขจร เคยแขวนขึ้นคอบูชาและได้ทำปฎิทิน 3 ทหารไว้ในปี 2515
************************
ประวัติ และ ตำนาน
สมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี
และการสร้างพระสมเด็จ วัดระฆังโฆษิตาราม ฯลฯ
*อาจารย์ของท่าน สมเด็จพระสังฆราชสุก ไก่เถื่อน วัดมหาธาตุ, สมเด็จพระโฆษาจารย์นาค วัดระฆัง, เจ้าคุณ อรัญญิก แก้ว, พระอาจารย์แสง วัดมณีชลขันธ์
*ชาตะ ในสมัยรักาลที่ 1 ณ.วันที่ 17 เมษายน 2331
*มรณะ วันที่ 22 มิถุนายน 2415
*พุทธคุณ เมตตามหานิยมสูง แคล้วคลาด คงกระพันและอธิษฐานดังใจปรารถนา
*บิดา ไม่ปรากฎแน่ชัด (บางตำราก็บอกว่าเป็น ร.1 หรือ ร.2)
*มารดา ชื่อ ละมุด (บางตำราบอกว่าชื่อ เกศ)
*ขณะที่ยังเยาว์วัยท่านได้ศึกษาอักขรที่สำนักเจ้าคุณอรัญญิก(ด้วง) วัดอินทรวิหาร
*ครั้งอายุ 12 ปี ในปี 2342 ได้บวชเป็นสามเณร โดยเจ้าคุณวิริยะเถระ(อยู่) วัดสังเวชวิศยาราม เป็นพระอุปัชฌาย์
*ท่านโตเป็นที่โปรดปรานของ ร.1-ร.5 และมีชื่อเสียงในการเทศน์ที่ไพเราะตั้งแต่ยังเป็นสามเณร
*ปี 2350 ร.1 ทรงโปรดปรานและพระกรุณาให้บวชเป็น “นาคหลวง” ที่วัดพระศรีศาสดาราม (วัดพระแก้ว) โดยมีสมเด็จพระสังฆราช สุก ญานสังวร วัดมหาธาตุเป็นพระอุปัชฌาย์ และได้เรียกกันว่า “พระมหาโต” ตั้งแต่นั้นมาและมีชื่อเสียงโด่งดังไปทั่วในเรื่องของการเทศน์ที่ไพเราะนัก และสอนให้ศิษย์เป็นเปรียญมามากต่อมาก
*ในสมัย ร.3 ท่านทรงกรุณาสถาปนาสมณศักดิ์ให้เป็น พระราชาคณะ แต่ท่านโตก็ปฎิเสธ เนื่องด้วยเพราะไม่ยึดถือกับยศศักดิ์ และมีนิสัยแปลกๆโดยที่ท่านจะทำอะไรตามความพอใจ และไม่ยึดถือกับความพอใจของคนทั่วไป
*ครั้งถึงสมัย ร.4 ได้ทรงแต่งตั้งเป็น พระราชาคณะ และครั้งนี้ท่านโตไม่ขัดราชอัธยาศัย
*ร.4 ทราบว่าท่านโตมีคุณธรรมสูง จึงได้แต่งตั้งสมณศักดิ์ดังนี้
ปี 2378 สมณศักดิ์ “พระครูปริยัติธรรม”
ปี 2386 สมณสักดิ์ “พระราชปัญญาภรณ์”
ปี 2390 สมณศักดิ์ “พระเทพกวีศรีวิสุทธินายก”
ปี 2395 สมนศักดิ์เป็น “พระธรรมกิตติ”
ปี 2407 ได้สมณศักดิ์เป็น “สมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรมรังสี” และราชทินนามว่า สมเด็จพระพุฒาจารย์ อเนกสถานปรีชา วิสุทธศีลจรรยาสมบัติ นิพัทธุตคุณ สิริสุนทรพรตจาริก อรัญญิกคณิศร สมณนิกรมหาปรินายก ตรีปิฎกโกศล วิมลศีลขันธ์ สถิต ณ วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร พระอารามหลวงฯ
เหตุการณ์ที่น่าประทับใจของสมเด็จโต ในสมัยรัชกาลที่ 4 ของช่วงปี 2394-2411 คือ
1.ได้รับกิจนิมนต์ไปทางเรือ แล้วเห็นศิษย์แจวเรือเหนื่อย ท่านก็จะให้พักแล้วแจวเอง ซึ่งก็เคยประทะชนกับเรือของ ร.4 แต่ท่านก็ไม่ตำหนิสมเด็จโต เพราะทราบถึงอุปนิสัยใจคอมาแต่เดิม
2.รัชกาลที่ 4 มักเรียกสมเด็จโตว่า “ขรัวโต” เพราะอายุมากกว่าท่านถึง 16 ปี ทรงโปรดปรานและถูกอัธยาศัยเป็นอันมาก ด้วยการนิมนต์สมเด็จโตเข้าไปถวายพระธรรมเทศนาในวังเสมอ
3.มีโจรขโมยของที่กุฎิ และเอื่อมมือหยิบไม่ถึงสิ่งของ แต่ท่านก็ทรงเขี่ยให้ถึงมือโจร
4.ได้สร้างพระพุทธรูปองค์ใหญ่และวัดไว้หลายวัดด้วยกัน เช่น วัดอินทรวิหาร วัดช่องลม วัดเกศไชโย วัดสะตือ วัดลครทำ วัดบางขุนพรหม วัดพิธเพียร เป็นต้น

ข้อมูลอ้างอิง ที่สามารถค้นคว้าได้ คือ
1.บทสัมภาษณ์ อาจารย์ แฉล้ม โชคช่วง
2.บทสนทนากับ เจ้าพระครูบริหารคุณวัตร (อดีตเจ้าอาวาสวัดใหม่อมตรส)
3.หนังสือประวัติหลวงปู่ภู เจ้าอาวาส วัดอินทรวิหาร
4.การบันทึกประวัติจากหลวงปู่คำ เจ้าอาวาสวัดอัมรินทร์ธนบุรี
5.หนังสือประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์ โต ที่น่าเชื่อถือและเรียบเรียงโดย
-พระครูกัลป์ยาณานุกูล
-สอน โลหะนันท์
-ฉันทิชัย
-อาจารย์ พน นิลผึ้ง
-ท่วม บุญนาค
-พ.ต.ต.จำลอง มัลลิกะนาวิน
-ตรียัมปวาย ฯลฯ
ราคาปัจจุบัน
45000
จำนวนผู้เข้าชม
4350 ครั้ง
สถานะ
ยังอยู่
โดย
ชื่อร้าน
พีพีพระเครื่อง
URL
เบอร์โทรศัพท์
0894483434
ID LINE
tanetbty
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกสิกรไทย / 057-1-47965-6




กำลังโหลดข้อมูล

หน้าแรกลงพระฟรี